Category: วันสำคัญในแต่ละเดือน
สนเทศน่ารู้ เกี่ยวกับวันสำคัญในเดือนต่างๆ
นางสาววัลฤดี โมอ่อน บรรณารักษ์ปฏิบัติการ หน่วยเทคโนโลยีส่งเสริมการศึกษา ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ บทความเรื่องนี้ ในอดีตประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างมาก ผืนป่าอันกว้างใหญ่ไพศาลยังไม่ถูกรุกราน จึงชุกชุมไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาเมื่อมีการค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างชาติ สัตว์ป่าจึงเป็นสินค้าส่งออกที่ได้รับความนิยม ทั้งการส่งนอแรด งาช้าง และของป่าไปขายยังต่างประเทศเป็นจำนวนมาก ชีวิตสัตว์ป่าเริ่มถูกรุกรานทำให้ลดจำนวนลงอย่างรวดเร็ว จนถึงขั้นที่สัตว์ป่าบางชนิด เช่น สมัน ต้องสูญพันธุ์ไปจากประเทศไทยอย่างน่าเสียดาย
นางสาววัลฤดี โมอ่อน บรรณารักษ์ปฏิบัติการ หน่วยเทคโนโลยีส่งเสริมการศึกษา ภาพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระมหาธีรราชเจ้า) หมายเหตุ. จาก วิถีแห่งจอมปราชญ์ ตามรอยพระยุคลบาทพระมหาธีรราชเจ้า = Footsteps of the Great Philosopher-King Vajiravudh (หน้าปก), โดย ชัชพล ไชยพรม, 2556, กรุงเทพฯ : มุลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในพระบรมราชูปถัมภ์. “คนจะเป็นปราชญ์ได้ต้องมีศิลปะ” พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชนิยมในศิลปะแขนงต่าง ๆ อย่างเด่นชัดทั้งในด้านวรรณศิลป์ และนาฏศิลป์ ทรงใช้ความสามารถด้านคีตศิลป์กล่อมเกลาจิตใจคนให้อ่อนโยน
นางสาววัลฤดี โมอ่อน บรรณารักษ์ปฏิบัติการ หน่วยเทคโนโลยีส่งเสริมการศึกษา 15 ค่ำ เดือน 12 ประเพณีลอยกระทงที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงปัจจุบันเชื่อกันว่าการ “ลอยกระทง” หรือ “ลอยประทีป” เป็นการขอขมากับพระแม่คงคา ที่ได้ใช้น้ำในการอุปโภค บริโภค กระทงที่นิยมกันมีหลายประเภทไม่ว่าจะเป็น กระทงใบตอง กระทงขนมปัง กระทงผัก แล้วกระทงแบบไหน ที่จะเหมาะสมกับการสืบทอดประเพณีอันดีงาม และรักษาสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน
วันชาสากล (International Tea Day) ถูกกำหนดขึ้นให้ตรงกับวันที่ 15 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548 เริ่มต้นมาจากเกษตรกรผู้ปลูกชากลุ่มเล็กๆ ทางตอนเหนือของอินเดีย ได้รวมตัวกันเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมในการค้าชาของตน
พระประวัติของพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ วันรพีตรงกับวันที่ 7 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้ทรงได้รับการยกย่องให้เป็นพระบิดาแห่งกฎหมายไทย
วันฮาโลวีน นับเป็นหนึ่งวันอันสำคัญของคริสต์ศาสนา นิกายคาทอลิก ซึ่งตรงกับวันที่ 31 ตุลาคม ของทุกปี เชื่อว่ามีที่มาจากวันฉลองปีใหม่ของชาวเคลต์ (Celt) ถือกันว่า เป็นวันสิ้นสุดของฤดูร้อน และวันต่อมา วันที่ 1 พฤศจิกายน คือ วันขึ้นปีใหม่ของชาวเคลต์ ซึ่งในวันที่ 31 ตุลาคมนี่เอง
วันสารทเดือนสิบ วันสารทเดือนสิบ หรือภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “วันชิงเปรต” นั้น ในเดือนสิบ (กันยายน) คือ การทำบุญกลางเดือนสิบ เพื่อนำเครื่องอุปโภคและเครื่องบริโภคไปถวายพระ อุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษของตน ประเพณีนี้เป็นความเชื่อของพุทธศาสนิกชนของชนชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่เชื่อว่าบรรพบุรุษอันได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย และญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากทำความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี
ความเป็นมา ตามมติคณะรัฐมนตรีรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ วันที่ 23 มิถุนายน 2552 เห็นชอบกำหนดให้วันที่ 5 มิถุนายน ของทุกปี เป็น “วันข้าวและชาวนาแห่งชาติ” ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ 1. การกำหนดให้มี “วันข้าวและชาวนาแห่งชาติ” เป็นการดำเนินตามยุทธศาสตร์ข้าวไทย ปี 2550-2554 ซึ่งได้มีการยกร่างโดยอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายทั้งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงพาณิชย์ ตลอดจนได้มีการประชาพิจารณ์รับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนหลายครั้ง และคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2552 ได้ให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ข้าวดังกล่าว