นามเฉลิมพระเกียรติ โมกราชินี WRIGHTIA SIRIKITIAE MID. & SUNTISUK ภาพ : ดัดแปลงจากวารสารชีวปริทรรศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม – สิงหาคม พ.ศ.2544 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานพระราชานุญาตให้กรมป่าไม้ใช้พระนาม “ โมกราชินี ”
Tag: นามเฉลิมพระเกียรติ
นามเฉลิมพระเกียรติ ปูเจ้าพ่อหลวง ( Potamon bhumibol )ภาพ : วารสารวิทยาศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 2 เดือนมีนาคม – เมษายน พ.ศ.2543 เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ
นามเฉลิมพระเกียรติ ไดโนเสาร์ : ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน่ ( Phuwiangosaurus sirindhornae , Martin,Buffetaut and Suteethorn,1994 ) การค้นหาซากดึกดำบรรพ์สัตว์ที่มีกระดูกสันหลังในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2523
ดอกไม้พระนาม “ ควีนสิริกิติ์ ”Flowers Bearing Her Majesty Queen Sirikit ’s name ดอกไม้งาม 3 ชนิดที่ชาวต่างประเทศขอพระราชทานพระนามาภิไธยสมเด็จพระนางเจ้า “ สิริกิติ์ ” พระบรมราชินีนาถ ไปตั้งชื่อดอกไม้นั้น ได้แก่
นามเฉลิมพระเกียรติ ปูเจ้าฟ้า (Phricotelphusa sirindhorn Naiyanetr) เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นามเฉลิมพระเกียรติ ปูพระพี่นาง Potamon galyaniae ภาพ : ดัดแปลงจากวารสารวิทยาศาสตร์ ปีที่ 54 ฉบับที่ 2 เดือนมีนาคม – เมษายน พ.ศ. 2543 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ค้นพบปูชนิดใหม่ของโลก เป็นปูน้ำจืดที่มีสีสันสวยงาม ณ บริเวณ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี
นามเฉลิมพระเกียรติ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร เมื่อปี พ.ศ. 2510 นักวิทยาศาสตร์จากสภาวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ได้ทำการดักจับนกนางแอ่นจำนวนมากจากบึงบรเพ็ด เพื่อทำการศึกษาเรื่องการอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ต่าง ๆ ในเอเซียอาคเนย์
นามเฉลิมพระเกียรติ ปูราชินี ( DEMANIETTA SIRIKIT ) ภาพ : ดัดแปลงจาก อนุสาร อ.ส.ท. ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2535 ปูราชินี เป็นปูน้ำจืดชนิดหนึ่งที่มีสีสันงดงามจนได้ตั้งชื่อว่า “ ปูราชินี ”
สิรินธรวัลลี กล้วยไม้สกุลใหม่ sirindhornia ปลาบู่มหิดล นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร ปูพระพี่นาง ปูเจ้าฟ้า ควีนสิริกิติ์ โมกราชินี ปูเจ้าพ่อหลวง ปูราชินี ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน่ รวบรวมข้อมูลโดย : ฝ่ายวารสารและเอกสาร
นามเฉลิมพระเกียรติ ปลาบู่มหิดล สมัยรัชกาลที่ 6 ( พ.ศ. 2469 ) ได้มีการจัดตั้งกรมรักษาสัตว์น้ำขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ Dr. Hugh McCormick Smith (ชาวอเมริกัน) ซึ่งได้เข้ามาปฏิบัติงานด้านการเพาะเลี้ยงและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำในประเทศไทย