หลักกฎหมายมหาชนเบื้องต้น (Introduction to Public Law)

หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงลักษณะของกฎหมายมหาชน ความหมาย ความแตกต่างจากกฎหมายอื่น สาขาของกฎหมายมหาชน โดยกล่าวถึงเนื้อหาสำคัญภายในเล่มดังนี้คือ ภาคหนึ่ง ลักษณะกฎหมายมหาชน ภาคสอง รัฐ: สถาบันกฎหมายมหาชน ภาคสาม การจัดระเบียบองค์กรของรัฐ และภาคสี่ การกระทำทางปกครอง ซึ่งในแต่ละภาคจะมีบรรณานุกรมประกอบทุกภาคและดัชนีค้นคำในท้ายเล่ม

ชื่อเรื่อง: หลักกฎหมายมหาชนเบื้องต้น (Introduction to Public Law)

ผู้เขียน: สมยศ เชื้อไทย

สถานที่: ชั้น 4 อาคาร 1

สารบัญ

  • ภาคหนึ่ง ลักษณะกฎหมายมหาชน  หน้า   ๑๓
  • ข้อความเบื้องต้น  หน้า   ๑๕
  • บทที่ ๑ การแบ่งแยกระหว่างกฎหมายมหาชนและกฏหมายเอกชน  หน้า   ๒๑
  • บทที่ ๒ ประโยชน์มหาชน  หน้า   ๓๕
  • บทที่ ๓ กฎหมายมหาชนในรัฐสมัยใหม่  หน้า   ๔๙
  • บทที่ ๔ การแบ่งแยกสาขาของกฎหมายมหาชน  หน้า   ๖๑
  • ภาคสอง รัฐ : สถาบันกฎหมายมหาชน  หน้า   ๘๕
  • ข้อความเบื้องต้น  หน้า   ๘๗
  • หมวด ๑ รัฐ : พิเคราะห์ในแง่ประวัติศาสตร์  หน้า   ๘๙
  • บทที่ ๑ การอุบัติขึ้นและวิวัฒนาการของรัฐ  หน้า   ๙๑
  • บทที่ ๒ รัฐสมัยใหม่  หน้า    ๙๕
  • หมวด ๒ รัฐ : พิเคราะห์ในแง่ข้อความคิด  หน้า ๑๐๙
  • บทที่ ๓ ข้อความคิดและสาระสำคัญของรัฐ  หน้า ๑๑๑
  • บทที่ ๔ องค์ประกอบของรัฐ  หน้า ๑๑๙
  • บทที่ ๕ ภารกิจของรัฐ  หน้า ๑๓๕
  • บทที่ ๖ รูปแบบของรัฐและรูปแบบการปกครอง  หน้า ๑๔๓
  • ภาคสาม การจัดระเบียบองค์กรของรัฐ  หน้า ๑๘๑
  • บทที่ ๑ ความเป็นนิติบุคคลของรัฐ  หน้า ๑๘๓
  • บทที่ ๒ องค์กรของรัฐ  หน้า ๑๙๙
  • บทที่ ๓ การกระทำของรัฐ  หน้า ๒๑๓
  • ภาคสี่ การกระทำทางปกครอง  หน้า ๒๓๓
  • ข้อความเบื้องต้น  หน้า ๒๓๕
  • บทที่ ๑ การใช้กฎหมายและดุลยพินิจทางปกครอง  หน้า ๒๓๗
  • บทที่ ๒ นิติกรรมทางปกครอง  หน้า ๒๔๙

รวบรวมข้อมูลโดย: ฝ่ายบริการผู้อ่าน