เป็นการสะท้อนชีวิตของคนไทย ที่ผูกพันกับสายน้ำ และการใช้เรือมาเป็นเวลายาวนาน เรือมิใช่เพียงพาหนะที่ใช้สัญจรในน้ำ หากเป็นที่อยู่อาศัยทำมาหาเลี้ยงชีพ เป็นเครื่องแสดงความศักดิ์สิทธิ์สูงส่งแห่งองค์พระมหากษัตริย์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค เป็นแหล่งรวมศิลปวิทยาการหลากหลายแขนง ทั้งยังเป็นศูนย์รวมความศรัทธา และความหฤหรรษ์ของชาวไทยทุกยุคทุกสมัย และมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งทางเศรษฐกิจ การค้า และวัฒนธรรมของชาติไทย หนังสือเล่มนี้จึงเปรียบเสมือนการเปิดปูมภูมิปัญญาเรือแห่งโลกตะวันตก
ชื่อเรื่อง: เรือ วัฒนธรรมชาวน้ำลุ่มเจ้าพระยา
บรรณาธิการ: ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์
สถานที่: ชั้น 3 อาคาร 3
สารบัญ
- 1. วัฒนธรรมเรือลุ่มเจ้าพระยา
- เปิดปูมภูมิปัญญาเรือแห่งโลกตะวันตก
- เมืองท่าลุ่มเจ้าพระยา: ประตูสู่การค้านานาชาติ
- การพาณิชยนาวีสมัยอยุธยา
- กรุงศรีอยุธยา “เวนิสแห่งตะวันออก”
- พาณิชยนาวี: โลกแห่งการค้าไร้พรมแดน
- 2. กระบวนพยุหยาตราชลมารค: อลังการแห่งมหานที
- แสนยานุภาพแห่งกระบวนเรือ
- เรือพระราชพิธีบนกระแสธารแห่งความเปลี่ยนแปลง
- เลิศล้ำเชิงช่างศิลป์
- มรดกอลังการศิลปกรรมแห่งสายน้ำ
- พระอัจริยภาพของในหลวงด้านการต่อเรือ
- 3. เรือกับชีวิตคนลุ่มน้ำลำคลอง
- ตามรอยวิถีชุมชนลุ่มน้ำลำคลอง จากปากอ่าวไทยสู่ลุ่มเจ้าพระยา
- บ้านยี่สาร: ย่านการค้าโบราณริมป่าชายเลน
- ตลาดน้ำท่าคา ชุมทางเรือจากลำคลองสามร้อยสาย
- ชุมชนชาวบ้านสวนริมคลองดำเนินสะดวก
- คลองบางกอกน้อย ย้อนรอยเจ้าพระยาสายเดิม
- เรือชาวบ้าน: ภูมิปัญญาจากสายน้ำและชีวิต
- เรือหางยาว นวัตกรรมแห่งท้องน้ำ
- เรือขนส่งพืชผลจากสวน รถบรรทุกบนท้องน้ำ
- เรือขนถ่านลำสุดท้าย บนเส้นทางการค้าโบราณ
- เรือชักพระ เรือกฐิน เรือแข่ง ความรื่นรมย์ ศรัทธา และสามัคคีบนท้องน้ำ
- เรือออมสิน ธนาคารเคลื่อนที่ของชาวน้ำชาวคลอง
- เรือเวชพาหน์ โรงพยาบาลลอยน้ำพระราชทาน
- ชีวิตร่วมสมัย สีสันแห่งเจ้าพระยาวันนี้
- ตามรอยวิถีชุมชนลุ่มน้ำลำคลอง จากปากอ่าวไทยสู่ลุ่มเจ้าพระยา
- ภาคผนวก หลากหลายเอกลักษณ์เรือไทย
รวบรวมข้อมูลโดย: ฝ่ายบริการช่วยการค้นคว้าวิจัยและบริการพิเศษ