ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ที่รวบรวมไว้ในหนังสือเล่มนี้จัดสร้างโดยช่างหลวง ในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นช่างฝีมือชั้นสูง แต่ละชิ้นมีความงดงามทั้งรูปแบบ ลวดลาย วิธีการจัดสร้าง และวัสดุที่ใช้ลวดลายอันละเอียดซับซ้อน งดงาม และวิจิตรบรรจง บ่งบอกถึงฝีมือช่างโบราณที่ทรงคุณค่า และสะท้อนให้เห็นถึงประวัติความเป็นมาและยุคสมัย ของความเจริญรุ่งเรืองในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ได้เป็นอย่างดี
ชื่อเรื่อง: ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ความงามอันทรงคุณค่า
รวบรวมเรียบเรียง: นิตย์รดี เรียบร้อยเจริญ
สถานที่: ชั้น 3 อาคาร 3
สารบัญ
- คำนำ
- บทนำ
- พานพระมหากฐิน หน้า ๖
- พาน หน้า ๙
- เครื่องราชูปโภคในสำรับพานพระศรี หน้า ๒๕
– ภู่ หน้า ๒๖
– ซองพลู หน้า ๓๑
– ซองพระโอสถมวน หน้า ๓๑
– ผอบ หน้า ๓๑
– ..
– เครื่องประดับข้อมือ หน้า ๑๘๐
– ปะวะหล่ำ หน้า ๑๘๓
– ปั้นเหน่ง หน้า ๑๘๕
– สร้อย หน้า ๑๘๙
– ตุ้มหู หน้า ๑๙๑
– ตลับ สมุก หน้า ๑๙๓ - ภาคผนวก
– ลวดลายไทยที่ปรากฏบนทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน หน้า ๒๐๓ - อภิธานศัพท์ หน้า ๒๐๖
รวบรวมข้อมูลโดย: ฝ่ายบริการช่วยการค้นคว้าวิจัยและบริการพิเศษ