งานวิชาการด้านความมั่นคงข้อมูลข่าวสาร (Cyber Security) และทฤษฎีการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)

งานวิชาการด้านความมั่นคงข้อมูลข่าวสาร (Cyber Security) และทฤษฎีการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)

การควบคุมการบังคับบัญชาการป้องกันทางอิเล็กทรอนิกส์ การใช้คลื่นความถี่ในการปฏิบัติการสนับสนุนการทำสงครามอิเล็กทรอนิกส์ อาวุธไซเบอร์ และการโจมตีที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยข้อมูลของประเทศ ยุทธศาสตร์การป้องกันเฝ้าระวังการโจมตีจากโลกไซเบอร์ในระดับประเทศ เพื่อเป็นการวางรากฐาน และการปฏิบัติในอนาคต การปฏิบัติการสารสนเทศเพื่อความมั่นคงภายในประเทศ และการเรียนรู้ผลกระทบความมั่นคงข้อมูลข่าวสารเมื่อมีการเปิดเสรีอาเซียน

ชื่อเรื่อง: งานวิชาการด้านความมั่นคงข้อมูลข่าวสาร (Cyber Security) และทฤษฎีการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)

โดย: สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

สถานที่: ชั้น 2 อาคาร 3

สารบัญ

  • บทที่ 1 คำจำกัดความสงครามข้อมูลข่าวสารและองค์ประกอบที่สำคัญ     หน้า 1
  • บทที่ 2 สงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare)     หน้า 40
  • บทที่ 3 การควบคุมการบังคับบัญชาการป้องกันทางอิเล้กทรอนิกส์การใช้คลื่นความถี่ ในการปฏิบัติการสนับสนุนการทำสงครามอิเล็กทรอนิกส์     หน้า 43
  • บทที่ 4 อาวุธไซเบอร์ และการโจมตีที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยข้อมูลของประเทศ     หน้า 60
  • บทที่ 5 ยุทธศาสตร์การป้องกันและเฝ้าระวังการโจมตีจากโลกไซเบอรืในระดับประเทศ เพื่อเป็นการวางรากฐานและการปกิบัติการในอนาคต     หน้า 87
  • บทที่ 6 การปฏิบัติการสารสนเทศ (Information Operation) เพื่อความมั่นคงภายในประเทศ     หน้า 102
  • บทที่ 7 เรียนรู้ผลกระทบความมั่นคงข้อมูลข่าวสารเมื่อมีการเปิดเสรีอาเซียน (AEC)     หน้า 110
  • บทที่ 8 รายงานการปฏิบัติงานของคณะที่ปรึกษา ครั้ง 2     หน้า 119
  • บทที่ 9 รายงานการคัดเลือกบทความวิชาการด้านความมั่นคงข้อมูลข่าวสาร (Cyber security) และทฤษฎีการทำสงครามข้อมูลข่าวสาร (Informtaion warfare)     หน้า 121

เรียบเรียงข้อมูลโดย: วรมน ทิพยโกศัย งานบริการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ฝ่ายบริการสารสนเทศ