เป็นวิทยานิพนธ์ยอดเยี่ยมสาขาสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ที่ให้มุมมอง และวิเคราะห์ให้เห็นถึงความสัมพันธ์อันตรกิริยาระหว่างหมอนวดกับสิ่งแวดล้อมภายในสถานบริการ โดยเชื่อมโยงถึงภูมิหลัง และประสบการณ์ชีวิตของหมอนวดในฐานะปัจเจกบุคคลกับโลกภายนอก และโลกของสถานบริการ โดยแบ่งเนื้อหาสาระเป็นแนวคิดที่ใช้ศึกษา สภาพแวดล้อมของสถานบริการ อาบ อบ นวด ตัวละครและกลุ่มต่างๆในสถานบริการอาบ อบ นวด หมอนวด ระเบียบ และกฎเกณฑ์การทำงาน กว่าจะได้เป็นหมอนวด กระบวนการถ่ายทอดความเป็นหมอนวด การเริ่มต้นของการค้าประเวณี การเรียนรู้และการปรับตัว การกลายเป็นหมอนวดอาชีพ ชีวิตมาลัยและผู้หญิงคนนั้นชื่อมาลี และบทสรุปข้อคิดเห็น พร้อมทั้งภาคผนวกและบรรณานุกรมท้ายเล่ม
ชื่อเรื่อง: นางงามตู้กระจก การศึกษากระบวนการกลายเป็นหมอนวดไทย
ผู้แต่ง: ศุลีมาน(นฤมล) วงศ์สุภาพ
สถานที่: ชั้น 3 อาคาร 1
สารบัญ
- บทนำ หน้า 1
- บทที่ 1 แนวคิดที่ใช้ศึกษา หน้า 27
- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมของสถานบริการอาบ อบ นวด หน้า 81
- บทที่ 3 ตัวละครและกลุ่มต่างๆ ในสถานบริการอาบ อบ นวด หน้า 89
- บทที่ 4 หมอนวด หน้า 105
- บทที่ 5 ระเบียบและกฎเกณฑ์การทำงาน หน้า 121
- บทที่ 6 กว่าจะได้เป็นหมอนวด หน้า 129
- บทที่ 7 กระบวนการถ่ายทอดความเป็นหมอนวด หน้า 143
- บทที่ 8 การเริ่มต้นของการค้าประเวณี หน้า 191
- บทที่ 9 การเรียนรู้และปรับตัว หน้า 213
- บทที่ 10 การกลายเป็นหมอนวดอาชีพ หน้า 241
- บทที่ 11 ชีวิตมาลัย และผู้หญิงคนนั้นชื่อมาลี หน้า 273
- บทที่ 12 บทสรุปและข้อคิดเห็น หน้า 301
- บรรณานุกรมศัพท์ หน้า 323
- บรรณานุกรม หน้า 326
- ภาคผนวก หน้า 333
– บทสัมภาษณ์ ‘ผู้หญิงคนหนึ่ง’ ในสายตาของ ศุลีมาน นฤมล นักวิจัยชีวิตหมอนวด
– เบื้องหลังงานวิจัยกับสิ่งที่ได้พบของ ศุลีมาน นฤมล
รวบรวมข้อมูลโดย: ฝ่ายบริการผู้อ่าน